Saturday, August 16, 2008
Friday, July 25, 2008
self introduction
Rawiwon Pulsawat Gender : femailBirthdate: 28 March,1971Zodiac year: Aries.Occupation: employee of Phang-nga Technical College.Animal: Cat and Dog.Colour: Pink and Blue.Habit: Talkative and sensitiveAbout MeMy name is Rawiwon Pulsawat amd my nickname’ s Aoy.I am the third person of my family. I am short. I was born in Tambol Noppring, Muang Phangnga. I was a student at Muang Phangnga School, and Stree Phangnga School. After I finished MS. 3, I was a student at Phangnga Technical College. After I graduated; I worked at Kum-klao Insurance Company and Narai Insurance. Right Now, I have been working at Phangnga Technical College as a clerical officer. I have a warmly family and one nice daughter.
Review point.
Adjective
Adjective คือ คำที่ใช้บรรยายคุณภาพของนาม เพื่อให้รู้ว่านามนั้นมีลักษณะดีหรือชั่วสูงหรือต่ำดำหรือขาวเป็นต้น เรียกว่า Adjective หรือคุณศัพท์
Adjective เวลานำไปพูดหรือเขียน มีวิธีใช้ 2 อย่าง คือ
1. เรียงไว้หน้านามที่คุณศัพท์นั้นไปขยายโดยตรงก็ได้ เช่น
The fat man can't run quickly.
คนอ้วนไม่สามารถวิ่งเร็วได้ (fat เรียงไว้หน้านาม man โดยตรง)
2. เรียงไว้หลัง Verb to be ก็ได้ เช่น
Somsri is beautiful. Manu is tall.
สมศรีเป็นคนสวย มนูเป็นคนสูง
ข้อยกเว้น การใช้ Adjective มาขยายตามแนวแบบข้อ 1 ก็ได้ หรือข้อ 2 ก็ได้ หมายถึงAdjective ทั่ว ๆ ไปเท่านั้น แต่ถ้าเป็น Adjective ที่จะกล่าวต่อไปนี้แล้ว มีวิธีใช้ขยายนามได้เพียงข้อใดข้อหนึ่งเท่านั้น จะใช้แบบทั้ง 2 ข้อตามใจไม่ได้ นั่นคือ
1. Adjective ต่อไปนี้ เมื่อขยายนาม ให้ใช้แบบเรียงไว้หลังกริยาเท่านั้นห้ามใช้แบบเรียงไว้หน้านามโดยเด็ดขาด :-sorry = เสียใจ
2. Adjective ต่อไปนี้เมื่อใช้ขยายนาม ให้เรียงไว้หน้านามโดยตรง ห้ามใช้แบบเรียงตามหลังกริยา Verb to be ได้แก่ :- formar = ก่อน latter = หลัง คนขี้เมา เป็นต้น
3. Adjective ที่ไปขยายหรือประกอบสรรพนามผสม (Compound Pronoun) ต่อไปนี้ ให้เรียงไว้ข้างหลังเสมอ ได้แก่ :- someone everybody no one something eveywhere nothing somebody anyone nobody somewhere anybody nowhere everyone anything
4. Adjective ที่ไปแสดงการวัด (ขนาดต่าง ๆ ของนาม) ต้องวางไว้หลังนามเสมอ
5. Adjective ที่มีจำนวนตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป แล้วมาขยายนามตัวเดียวกัน จะวางไว้หน้านามนั้นโดยตรงก็ได้ หรือจะวางไว้หลังนามนั้นก็ได้ แต่อย่าลืมว่าหน้าAdjective ตัวสุดท้ายนั้นต้องมี and มาเชื่อมไว้
6. Adjective ที่เป็นสมญานาม ไปทำหน้าที่ขยายนามที่เป็นชื่อเฉพาะ ให้วางไว้หลังนามนั้นเสมอ (และ Adjective ที่นำมาใช้เป็นสมญานามนี้ต้องมี the นำหน้าทุกครั้ง
การเปรียบเทียบคำคุณศัพท์ ( Comparison of Adjectives )
tive Adjective คุณศัพท์แบ่งแยก
การเปรียบเทียบคำคุณศัพท์ ( Comparison of Adjectives ) เป็นการเปรียบเทียบคำคุณศัพท์ที่ไปแสดงคุณภาพของนามเพื่อจะบอกให้รู้ว่านามนั้นมีลักษณะ เท่าเทียมกันหรือไม่ อย่างไร แบ่งออกเป็น 3 ขั้น คือ
1. การเปรียบเทียบขั้นปกติ ( Positive Degree ) ใช้เปรียบเทียบความเท่าเทียมกัน ไม่เท่าเทียมกัน เช่น long, short, small , big , fast, slow เป็นต้น
2. การเปรียบเทียบขั้นกว่า ( Comparative Degree ) ใช้เปรียบเทียบกับนาม 2 จำนวน เช่น longer, shorter, smaller, bigger , faster, slower เป็นต้น
3. การเปรียบเทียบขั้นสูงสุด ( Superlative Degree ) ใช้เปรียบเทียบกับนามที่มีจำนวนตั้งแต่ 3 ขึ้นไป เช่น longest, shortest, smallest, biggest เป็นต้น
- การเปรียบเทียบขั้นปกติ ( Positive Degree ) มีตัวเชื่อมหลายรูปแบบดังต่อไปนี้รูปแบบ as+ คุณศัพท์ขั้นปกติการเปรียบเทียบขั้นกว่า ( Comparative Degree ) การเปรียบเทียบที่สูงกว่า แสดงในรูป คุณศัพท์ขั้นกว่า + than ( positive degree) + as แสดงความ เท่าเทียมกัน
- การเปรียบเทียบขั้นกว่า ( Comparative Degree ) การเปรียบเทียบที่สูงกว่า แสดงในรูป คุณศัพท์ขั้นกว่า + than
- การเปรียบเทียบขั้นสูงสุด ( Superlative Degree ) รูปแบบมีดังนี้ the + คุณศัพท์ขั้นสูงสุด + นาม
Adjective คือ คำที่ใช้บรรยายคุณภาพของนาม เพื่อให้รู้ว่านามนั้นมีลักษณะดีหรือชั่วสูงหรือต่ำดำหรือขาวเป็นต้น เรียกว่า Adjective หรือคุณศัพท์
Adjective เวลานำไปพูดหรือเขียน มีวิธีใช้ 2 อย่าง คือ
1. เรียงไว้หน้านามที่คุณศัพท์นั้นไปขยายโดยตรงก็ได้ เช่น
The fat man can't run quickly.
คนอ้วนไม่สามารถวิ่งเร็วได้ (fat เรียงไว้หน้านาม man โดยตรง)
2. เรียงไว้หลัง Verb to be ก็ได้ เช่น
Somsri is beautiful. Manu is tall.
สมศรีเป็นคนสวย มนูเป็นคนสูง
ข้อยกเว้น การใช้ Adjective มาขยายตามแนวแบบข้อ 1 ก็ได้ หรือข้อ 2 ก็ได้ หมายถึงAdjective ทั่ว ๆ ไปเท่านั้น แต่ถ้าเป็น Adjective ที่จะกล่าวต่อไปนี้แล้ว มีวิธีใช้ขยายนามได้เพียงข้อใดข้อหนึ่งเท่านั้น จะใช้แบบทั้ง 2 ข้อตามใจไม่ได้ นั่นคือ
1. Adjective ต่อไปนี้ เมื่อขยายนาม ให้ใช้แบบเรียงไว้หลังกริยาเท่านั้นห้ามใช้แบบเรียงไว้หน้านามโดยเด็ดขาด :-sorry = เสียใจ
2. Adjective ต่อไปนี้เมื่อใช้ขยายนาม ให้เรียงไว้หน้านามโดยตรง ห้ามใช้แบบเรียงตามหลังกริยา Verb to be ได้แก่ :- formar = ก่อน latter = หลัง คนขี้เมา เป็นต้น
3. Adjective ที่ไปขยายหรือประกอบสรรพนามผสม (Compound Pronoun) ต่อไปนี้ ให้เรียงไว้ข้างหลังเสมอ ได้แก่ :- someone everybody no one something eveywhere nothing somebody anyone nobody somewhere anybody nowhere everyone anything
4. Adjective ที่ไปแสดงการวัด (ขนาดต่าง ๆ ของนาม) ต้องวางไว้หลังนามเสมอ
5. Adjective ที่มีจำนวนตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป แล้วมาขยายนามตัวเดียวกัน จะวางไว้หน้านามนั้นโดยตรงก็ได้ หรือจะวางไว้หลังนามนั้นก็ได้ แต่อย่าลืมว่าหน้าAdjective ตัวสุดท้ายนั้นต้องมี and มาเชื่อมไว้
6. Adjective ที่เป็นสมญานาม ไปทำหน้าที่ขยายนามที่เป็นชื่อเฉพาะ ให้วางไว้หลังนามนั้นเสมอ (และ Adjective ที่นำมาใช้เป็นสมญานามนี้ต้องมี the นำหน้าทุกครั้ง
การเปรียบเทียบคำคุณศัพท์ ( Comparison of Adjectives )
tive Adjective คุณศัพท์แบ่งแยก
การเปรียบเทียบคำคุณศัพท์ ( Comparison of Adjectives ) เป็นการเปรียบเทียบคำคุณศัพท์ที่ไปแสดงคุณภาพของนามเพื่อจะบอกให้รู้ว่านามนั้นมีลักษณะ เท่าเทียมกันหรือไม่ อย่างไร แบ่งออกเป็น 3 ขั้น คือ
1. การเปรียบเทียบขั้นปกติ ( Positive Degree ) ใช้เปรียบเทียบความเท่าเทียมกัน ไม่เท่าเทียมกัน เช่น long, short, small , big , fast, slow เป็นต้น
2. การเปรียบเทียบขั้นกว่า ( Comparative Degree ) ใช้เปรียบเทียบกับนาม 2 จำนวน เช่น longer, shorter, smaller, bigger , faster, slower เป็นต้น
3. การเปรียบเทียบขั้นสูงสุด ( Superlative Degree ) ใช้เปรียบเทียบกับนามที่มีจำนวนตั้งแต่ 3 ขึ้นไป เช่น longest, shortest, smallest, biggest เป็นต้น
- การเปรียบเทียบขั้นปกติ ( Positive Degree ) มีตัวเชื่อมหลายรูปแบบดังต่อไปนี้รูปแบบ as+ คุณศัพท์ขั้นปกติการเปรียบเทียบขั้นกว่า ( Comparative Degree ) การเปรียบเทียบที่สูงกว่า แสดงในรูป คุณศัพท์ขั้นกว่า + than ( positive degree) + as แสดงความ เท่าเทียมกัน
- การเปรียบเทียบขั้นกว่า ( Comparative Degree ) การเปรียบเทียบที่สูงกว่า แสดงในรูป คุณศัพท์ขั้นกว่า + than
- การเปรียบเทียบขั้นสูงสุด ( Superlative Degree ) รูปแบบมีดังนี้ the + คุณศัพท์ขั้นสูงสุด + นาม
Subscribe to:
Posts (Atom)